วันพฤหัสบดีที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

การนำเมทริกซ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

การนำเมทริกซ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน


“เมทริกซ์” เป็นเนื้อหาหนึ่งในวิชาคณิตสาสตร์เพิ่มเติม ม.4 ศึกษาเกี่ยวกับตัวแบบชนิดหนึ่งที่เรียกว่าเมทริกซ์ และมีการประยุกต์ในการแก้ระบบสมการเชิงเส้น
ในระดับอุดมศึกษาจึงมีการนำไปประยุกต์ใช้ในสาขาต่างๆ โดยในการเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้น ได้มีการกล่าวถึงการประยุกต์ใช้ในหลากหลายสาขา ที่มีการนำสมการเชิงเส้นไปใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ และความสัมพันธ์ต่างๆ ดังนี้
  1. การประยุกต์ทางธุรกิจ
  2. การประยุกต์ทางเศรษฐศาสตร์
  3. การประยุกต์ทางฟิสิกส์ (วงจรไฟฟ้า)
  4. การวิเคราะห์การเลื่อนไหลของการจราจร

การประยุกต์ทางธุระกิจ 

  ตัวอย่างที่      โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งมีเครื่องจักร 3 เครื่อง เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าที่แตกต่างกัน 4 ชนิด เครื่องจักรแต่ละเครื่องสามารถทำงานได้วันละ 8 ชั่วโมง และจำนวนชั่วโมงที่เครื่องจักรแต่ละเครื่องในใจการผลิตสินค้าแต่ละชนิด ต่อ 1 ชิ้น กำหนดดังนี้

ชนิดที่ 1
ชนิดที่ 2
ชนิดที่ 3
ชนิดที่ 4
เครื่องที่ 1
1
2
1
2
เครื่องที่ 2
2
0
1
1
เครื่องที่ 3
1
2
3
0

จงหาจำนวนสินค้าแต่ละชนิดที่ผลิตได้ใน 1 วัน เมื่อกำหนดให้เครื่องจักรแต่ละตัวทำงานครบ 8 ชั่วโมง

วิธีทำ    สมมติให้  w แทน จำนวนสินค้าชนิดที่ 1 ที่ผลิตได้ใน 1 วัน

           x แทน จำนวนสินค้าชนิดที่ 2 ที่ผลิตได้ใน 1 วัน
           y แทน จำนวนสินค้าชนิดที่ 3 ที่ผลิตได้ใน 1 วัน
           z แทน จำนวนสินค้าชนิดที่ 4 ที่ผลิตได้ใน 1 วัน

           ดังนั้น   จำนวนชั่วโมงทำงานของเครื่องจักรเครื่องที่ 1 เท่ากับ 1w + 2x + 1y + 2z
           จำนวนชั่วโมงทำงานของเครื่องจักรเครื่องที่ 2 เท่ากับ 2w + 0x + 1y + 1z
           จำนวนชั่วโมงทำงานของเครื่องจักรเครื่องที่ 3 เท่ากับ 1w + 2x + 3y + 0z

จากที่กำหนดให้ว่า เครื่องจักรแต่ละเครื่องทำงานวันละ 8 ชั่วโมง ดังนั้น จะได้ระบบของสมการเชิงเส้น ดังต่อไปนี้

           w + 2x +   y + 2z   =   8
         2w +           y +   z   =   8
           w + 2x + 3y           =   8

ซึ่งสร้างเป็นเมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการเชิงเส้นได้ดังนี้


เมื่อใช้การดำเนินการตามแถวเบื้องต้นจะได้เมทริกซ์แบบขั้นบันไดแบบแถว ดังนี้

จากเมทริกซ์นี้ ทำให้เราได้ระบบสมการเชิงเส้น ดังนี้
                                  w + 2x +   y  +   z   =   4
                                  x +    y +   z   =   2
                                  y –   z    =   0
ซึ่งจะได้คำตอบของระบบสมการดังนี้
                                  w   =   4 – s
                                  x   =   2 – s
                                  y   =   s
                                  z   =   s
เมื่อ s เป็นจำนวนใดๆ  แต่เนื่องจาก w, x, y, z เป็จำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ (จำนวนสินค้า)
       
          ดังนั้น        4 – s  ≥  0     และ  2 – s  ≥  0
          นั่นคือ        s  ≤  4          และ       s  ≤  2
ดังนั้น 0 £ s £ 2 จะได้ s = 0, 1, 2 แสดงว่าคำตอบของปัญหามีอยู่ 3 คำตอบ คือ

ถ้า s = 0 จะได้    หรือ
ถ้า s = 1 จะได้    หรือ
ถ้า s = 2 จะได้ 
แต่ถ้าระบุเงื่อนไขเพิ่มเติมอีกว่า เครื่องจักรแต่ละเครื่องต้องผลิตสินค้าได้ทุกชนิด คำตอบของปัญหานี้จะเหลือเพียงคำตอบเดียว คือ

การวิเคราะห์การเลื่อนไหลของการจราจร

              ถ้ามีแผนผังของการจราจรในรูปแบบของการเดินรถทางเดียว พร้อมทั้งมีการสำรวจจำนวนรถที่เข้าหา หรือออกจากสี่แยก เราสามารถนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาจำนวนรถบนเส้นทางที่ต้องการได้ และจากคำตอบดังกล่าวนี้ หากเราทราบว่านถนนสายใดมีปัญหาที่อาจจะส่งผลถึงการจราจร เช่น การก่อสร้าง ก็อาจจะวิเคราะห์ต่อไปถึงจำนวนรถที่เหมาะสมได้

ตัวอย่างสถานการณ์    
               ในรูปที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แสดงเครือข่ายการจราจรบนถนนสายต่างๆ ในเมืองแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นถนนที่มีการเดินรถทางเดียวทั้งหมด โดยทิศทางของการเดินรถแสดงได้ด้วยลูกศรในรูป จำนวน ปรากฏในรูปแทนจำนวนรถใน 1 ชั่วโมงที่เข้าหา หรือออกจากจุดสี่แยกต่างๆ และตัวแปร x1, x2, …, x7 แทนจำนวนรถใน 1 ชั่วโมงที่ผ่านจากจุด A ไปยังจุด B จากจุด B ไปยังจุด C เป็นต้น

               
               ถ้าหากเราตั้งสมมติฐานว่า ไม่มีการหยุดการเลื่อนไหลของการจราจร จำนวนรถที่เข้าหาสี่แยกเท่ากับจำนวนรถที่ออกจากสี่แยกนั้น จงวิเคราะห์หา x1, x2, …, x7
วิธีทำ                    
              จากข้อมูลที่กำหนดให้ จะได้ระบบสมการเชิงเส้น ดังต่อไปนี้
x1 + x3                          =   800  (การเลื่อนไหนที่สี่แยก A)
x1 – x2 + x4                   =   200  (การเลื่อนไหนที่สี่แยก B)
x2 – x5                          =   500  (การเลื่อนไหนที่สี่แยก C)
– x5 + x7                       =   50    (การเลื่อนไหนที่สี่แยก D)
x4 + x6 – x7                   =   600  (การเลื่อนไหนที่สี่แยก E)
x3 + x6                          =   750  (การเลื่อนไหนที่สี่แยก F)

จะได้เมทริกซ์แต่งเติมของระบบสมการข้างต้น คือ

ซึ่งสมมูลตามแถวกับเมทริกซ์ขั้นบันไดตามแถวลดรูป ดังนี้


ดังนั้น
x1   =   50 + x6
x2   =   450 + x7
x3   =   750 – x6
x4   =   600 – x6 + x7
x5   =   -50 + x7
x6   =   x6
x7   =   x7

          เนื่องจาก xi ³ 0 (เพราะว่า สถานการณ์นี้เป็นการเดินรถทางเดียว ถ้าหากมี xi < 0 จะทำให้เกิดการเดินรถที่ผิดทางกัน)

ดังนั้น            x3   =   750 – x6  >  0
ดังนั้น            0  <  x6  <  750
ทำนองเดียวกัน     x5   =   -50 + x7  >  0  
                         x7  >  50

         ถ้าสมมติว่า ถนนที่เชื่อมระหว่างสี่แยก D และ E อยู่ใรระหว่างการก่อสร้าง จึงต้องการให้รถผ่านเส้นทางนี้น้อยที่สุด จะได้ว่า x7 = 50 ซึ่งทำให้ x2 = 500 และ x5 = 0
         แสดงว่า ต้องปิดการถนนที่เชื่อมระหว่างสี่แยก C และ D
         ในทางกลับกัน ถ้าปิดถนนสายที่เชื่อมระหว่าง C และ D จะได้ x5 = 0 ซึ่งทำให้ x7 = 50 ซึ่งเป็นจำนวนที่น้อยที่สุด
          ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า จำนวนรถบนถนนที่เชื่อมระหว่าง D และ E น้อยที่สุด ก็ต่อเมื่อต้องปิดถนนสายที่เชื่อมระหว่าง C และ D
         ในขณะเดียวกัน ถ้าต้องการให้ x6 มีค่าน้อยที่สุดด้วย จาก (1) จะได้ว่า x6 = 0
         ดังนั้น x1 = 50, x2 = 500, x3 = 750, x4 = 650, x5 = 0, x7 = 50


ขอบคุณแหล่งที่มา จาก http://coolaun.com/m4/admath2/matrix/appmatrix/

( กมล  เอกไทยเจริญ.  (ม.ป.ป.).  พีชคณิตเชิงเส้น และเทคนิคการใช้ Graphing Calculator.  กรุงเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.)

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์

             ในระดับชั้นมัยมศึษาตนต้น เราได้เยศึษาเี่ยกับารแก้รบบารเิงเส้นงตัวแปและสาม ตัแปรแล้ว าหรัในเรื่อนี้ เราจะนาความรู้เรื่องเทริก์มาปรยุกต์้ในกรแก้รบบารเิงเส้นตั้งแต่ง ตัแปรขึ้น 
ระบบสมการเชิงเส้น 
             สำรับบบารเิงเส้นที่มี n ตัแปร m สมการ ซึ่งมี x1, x2, x3, ... , xnจะีรูปแบบเป็น
              ซึ่งผลัพธ์ที่จะเิดขึ้นจากรบบารจะแบ่งด้ 3 แบบ คือ


ตัวย่าง งแ้ระบบสมการต่ปนี้
(1)      2x - y = 3
x + 3y = -2


(2)      x - 2y - z = -2
-x + y + 2z = -1
2x + 3y - 2z = 10 

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยการใช้เมทริกซ์ผกผัน
            ิจารณาระบบสมการเชิงเ้น 3 ตัแปร 3 สมการ                                                       
                                                              ax + by + cz = m 
                                                              dx + ey + fz = n
                                                              gx + hy + iz = p

ซึ่งเราามารถเียนเป็สมการเมริกซ์ด้เป็น
 
  
ซึ่งอยู่นรูป          A x X  =  B  ดยเราเียกเทริกซ์ A ่า เมทริกซ์สัมปรสิทธิ ( Coefficient Matrix) ียก 
เมทริซ์ B ่า เมทริกซ์่าคตัว เรียกเมริกซ์ X ่า เมทริกซ์ตัวแปร ซึ่งสามารถหาคำตบขงสมการเมท
ริกซ์นี้ด้จาก X = A-1 × B (เมื่อ A-1 หาค่าด้)

ข้อวรรู้        ขุ้ปเกี่ยวกับผลัพธ์ที่ได้จาการแ้ระบบสมการับเมทริซ์

- กรณีี่เมทริซ์สัมประสิทิ์เป็นเมทริกม่เกฐาน จะด้่า                                              

- กรณีี่เมทริซ์สัมประสิทิ์เป็นเมทริก์เกฐาน จะด้่า                                                 
 
ตัวย่าง งแ้ระบบสมการนี้ดยใช้เมทริกซ์ผกผัน
x - y + 2z = 9
2x + y - z = 0
3x - 2y + z = 11
 

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้กฏของคาร์เมอร์
              กำหนดระบบสมกรเิงเส้น n ตัแปร n สมการ ดย A × X = B (A เป็เมทริซ์สัมประสิทธิ X เป็น เมทริซ์ตัวแปร B เป็นเมทริก์ค่างตั) เป็นารเมทริซ์ซึ่งสัมัน์กับรบบารดังกล่าว ถ้า det(A) ไม่เท่ากับ 0 และห้  

คำตบขงรบบารนี้คือ

Ent’27 (ดัดปล)  จงหาค่า y และ t ที่ทให้ระบบสมการนี้เป็นจิง ดยใช้กงคร์เมร์
2x + y - 2z = -1 x + 3z - t = 2
-2x + y + 2z + 2t = 0
                                             x - y + 3z + t = 1

 การแก้ระบบสมการโดยใช้ Row-Operation
          ิจารณาการแ้ระบบสมการเชิงเ้น 2 ตัแปร 2 สมการ เทียบกับกรดาเนิการับเมทริซ์ที่สร้างขึ้น ใหม่ (เรียกเมริกซ์นี้ว่า เมทริซ์แต่งเติม : augmented matrix) ต่อไปนี้  

ตัวย่าง          จงแก้รบบารนี้ดยใช้ row-operation x - 2y + 3z = 9

-x + 3y = -4

2x - 5y + 5z = 17
   
NOTE          Gauss Elimination
Gauss Elimination เป็นีการหนึ่งซึ่งใช้ในการแ้ระบบสมการซึ่งีการเดียวกันกับารแก้ ระบบสมการโดยใช้ row-operation ียงแต่ในวิธ Gauss Elimination าจะาการดาเนินตามแป จนเมทริกซ์ต่งเติมเป็นเมริกซ์ี่ยู่ในักเดียกับ row-echelon form matrix (เป็นเมทริกซ์ สามเหี่ยมล่าง)
ตัวย่าง จงแก้รบบารนี้ดยใช้Gauss Elimination


โคตา ’50   กำหนดให้ (x, y, z, t) = (a, b, c, d) เป็นคาตบขงรบบารเิงเส้น
x + y - z - t = -4
-y + 3z + 3t = 8
5z + 5t = 15
            จงหาค่าขอ          2a + 3b + c + d
ข้อวรรู้        กาหาเมทริก์ผกผันดยใช้ row-operation
นอจาก row-operation จะช่ยในการแ้ระบบสมการเชิงเ้นได้ล้ว ยังามารถ้หาเมทริกซ ผกผัด้ ดยการทาตาขั้นตนดังนี้
- นำเมทริซ์ A n´n  ที่ต้ารหาอินเร์มาเียนในรูป [A:In ]
-1
 
              - ทำาร row-operation จนได้เมริกซ์ [In :B] ะได้่า B = A
ตัวย่าง กำหนด  
 งหา A-1 ดยใช้ row-operation 











 

ENT’47 .. ให้    x, y, z เป็นคาตบขงรบบารเิงเส้น

a11x + a12y + a13z = 2 a21x + a22y + a23z = 1
                             a31x + a32y + a33z = 0   
ENT’48 มี..    กำหนดให้ 




และ B, C,   D เป็นเมทริก์มิติ 3x 3 ซึ่ง A~B~C~D









ดยที่            B ด้จาก A ดยการดาเนินการ R1 -    R2

3

C ด้จาก B ดยการดาเนินการ 5R1

D ด้จาก C ดยการดาเนินการ R23
แล้ว det(D) เท่าับเท่าใด



ทุนล่ารียนหล’37     เมื่อ  A  คือ ดีเทอร์ิแนนต์ขงเมริกซ์จัตุรัส A ต่อไปนี้ข้ใดเท่กับ
 




 
ENT’40          กำหนดให้


แล้ว p มี่k เท่ากับเท่าใด

ตัวย่าง          สำรับบบารเิงเส้น
x + y+ kz = 1
x + ky + z = 1 kx + y + z = -2
จงหาเงื่อนขสำหับค่า k ที่จะำให้ บบารเิงเส้นมีคำตบเดียว มีหายคำต ะไม่ีคำต

ทุนล่ารียนหล’46 


 ให้เป็นเมทริก์ผูกัน  (adjoint  matrix)  
เมทริซ์ A และ det(A) < 0 จงหาเมทริกซ์ A


PAT1 .. 53  ให้ a,  b,  c,  d,  t  เป็นำนนจิง ถ้า

det(A + t2A-1) = 0 แล้ค่าขอ det(A - t2A-1) เท่าับเท่าใด 
ทุนล่ารียนหล’37     ถ้า A, B, C เป็นเมทริก์แล้ว ข้ใดูกต้
1. ถ้า AB = AC แล้ว B = C
2. ถ้า AB = C และ A ไม่เท่ากับ  0 (เมทริซ์ศูนย์) แล้ว B = A-1C
3. (A + B)C = AC + BC
4. (A + B)(A – B) = A2 - B2
 
ENT’30          ข้ใดต่ปนี้ิด

ขอบคุณแหล่งที่มา จาก http://goo.gl/Apu2eO